ยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ

ยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ (อังกฤษ: UEFA Cup Winners’ Cup; ชื่อเดิม: ยูโรเปียนคัพวินเนอร์สคัพ: European Cup Winners’ Cup)[1] เป็นรายการการแข่งขันฟุตบอลสโมสรของยุโรป โดยการนำเอาทีมที่เป็นผู้ชนะฟุตบอลถ้วยภายในของแต่ละประเทศ ของฟุตบอลลีกยุโรปในปีนั้น ๆ มาทำการแข่งขันกัน จัดการแข่งขันโดยสหภาพสมาคมฟุตบอลยุโรป (ยูฟ่า) เริ่มจัดการแข่งขันตั้งแต่ฤดูกาล 1960–61 จนกระทั่งถึงฤดูกาล 1998–99 การแข่งขันถ้วยดังกล่าวก็ได้ถูกล้มเลิกไป เพื่อหลีกทางให้กับการจัดการแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก โดยที่ผู้ชนะเลิศในฟุตบอลถ้วยภายในของแต่ละประเทศ ก็จะได้สิทธิในการเข้าร่วมแข่งขันในถ้วยยูฟ่าคัพแทน[2][3][4][5][6][7]

ยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ
ก่อตั้งค.ศ. 1960
(ในชื่อ ยูโรเปียนคัพวินเนอร์สคัพ)
ค.ศ. 1994
(ในชื่อ ยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ)
ยกเลิกค.ศ. 1999
ภูมิภาคยุโรป (ยูฟ่า)
จำนวนทีม32 (รอบแรก)
ทีมชนะเลิศล่าสุดอิตาลี ลัตซีโย (1 สมัย)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดสเปน บาร์เซโลนา (4 สมัย)
เว็บไซต์www.footballhistory.org/tournament/cup-winners-cup.html

คัพวินเนอร์สคัพได้รับการพิจารณาให้เป็นการแข่งขันของสโมสรยุโรปดิวิชันสองรองจากยูโรเปียนคัพหรือยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ในอดีต ก่อนจะรวมกับรายการยูฟ่าคัพ เพื่อยกระดับความสำคัญก่อนที่จะมาเปลี่ยนชื่อเป็นยูฟ่ายูโรปาลีก

การแข่งขันนัดชิงชนะเลิศ

แก้
ฤดูกาล ชนะเลิศ ผลคะแนน รองชนะเลิศ สนาม
1998-99   ลัตซีโย 2 - 1   มายอร์กา วิลลาปาร์ค,
เบอร์มิงแฮม  
1997-98   เชลซี 1 - 0   ชตุทการ์ท ราซุนด้า สเตเดี้ยม,
สต็อกโฮล์ม  
1996-97   บาร์เซโลนา 1 - 0   ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง เดอ ไคป์,
ร็อตเตอร์ดัม  
1995-96   ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 1 - 0   ราพีทวีน คิง โบดวง สเตเดี้ยม,
บรัสเซลส์  
1994-95   เรอัลซาราโกซา 2 - 1
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
  อาร์เซนอล ปาร์กเดแพร็งส์,
ปารีส  
1993-94   อาร์เซนอล 1 - 0   ปาร์มา ปาร์คเค่น สเตเดี้ยม,
โคเปนเฮเก้น  
1992-93   ปาร์มา 3 - 1   แอนต์เวิร์ป เวมบลีย์,
ลอนดอน  
1991-92   เบรเมิน 2 - 0   มอนาโก เอสตาดิโอ้ ดา ลูซ,
ลิสบอน  
1990-91   แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 2 - 1   บาร์เซโลนา เดอ ไคป์,
ร็อตเตอร์ดัม  
1989-90   ซัมป์โดเรีย 2 - 0
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
  อันเดอร์เลคต์ เนีย อุลเลวี่,
โกเตนเบิร์ก  
1988-89   บาร์เซโลนา 2 - 0   ซัมป์โดเรีย แวงค์ดอร์ฟ สเตเดี้ยม,
แบร์น  
1987-88   เมเชเลน 1 - 0   อายักซ์ สต๊าด เดอ ลา เมโน,
สทราซบูร์  
1986-87   อายักซ์ 1 - 0   ไลพ์ซิช สปิรอส หลุยส์ สเตเดี้ยม,
เอเธนส์  
1985-86   ดือนามอกือยิว 3 - 0   อัตเลติโกเดมาดริด สตาดเดอแฌร์ล็อง,
ลียง  
1984-85   เอฟเวอร์ตัน 3 - 1   ราพีทวีน เดอ ไคป์,
ร็อตเตอร์ดัม  
1983-84   ยูเวนตุส 2 - 1   โปร์ตู แซงต์ ยาค็อบ ปาร์ค,
บาเซิ่ล  
1982-83   แอเบอร์ดีน 2 - 1
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
  เรอัลมาดริด เนีย อุลเลวี่,
โกเตนเบิร์ก  
1981-82   บาร์เซโลนา 2 - 1   ลีแอช คัมป์ นู,
บาร์เซโลนา  
1980-81   ดินาโม ทบิลิซี 1 - 0   เยนา เรอิน สตาดิโอน,
ดุสเซลดอร์ฟ  
1979-80   บาเลนเซีย 0 - 0
(หลังต่อเวลาพิเศษ)

5-4
(ดวลจุดโทษ)
  อาร์เซนอล เฮย์เซล สเตเดี้ยม,
บรัสเซลส์  
1978-79   บาร์เซโลนา 4 - 3
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
  ดึสเซิลดอร์ฟ แซงต์ ยาค็อป ปาร์ค,
บาเซิ่ล  
1977-78   อันเดอร์เลชท์ 4 - 0   เอาส์ทรีอาวีน ปาร์กเดแพร็งส์,
ปารีส  
1976-77   ฮัมบวร์ค 2 - 0   อันเดอร์เลชท์ สนามกีฬาโอลิมปิก (อัมสเตอร์ดัม),
อัมสเตอร์ดัม  
1975-76   อันเดอร์เลชท์ 4 - 2   เวสต์แฮมยูไนเต็ด เฮย์เซล สเตเดี้ยม,
บรัสเซลส์  
1974-75   ดือนามอกือยิว 3 - 0   เฟเรนซ์วารอส แซงต์ ยาค็อป ปาร์ค,
บาเซิ่ล  
1973-74   มัคเดอบวร์ค 2 - 0   มิลาน เดอ ไคป์,
ร็อตเตอร์ดัม  
1972-73   มิลาน 1 - 0   ลีดส์ยูไนเต็ด คาฟตานโซโญ่ สเตเดี้ยม,
ซาโลนิก้า  
1971-72   กลาสโกว์ เรนเจอร์ส 3 - 2   ดินาโม มอสโก คัมป์ นู,
บาร์เซโลนา  
1970-71   เชลซี 1 - 1
(หลังต่อเวลาพิเศษ)

2 - 1
(แข่งใหม่)
  เรอัลมาดริด คาราอิสคาคิส สเตเดี้ยม,
ปิเรอุส  
1969-70   แมนเชสเตอร์ซิตี 2 - 1   กอร์นิค ซาเบอร์เซ่ แอร์นส์ ฮัปเปิล สเตเดี้ยม,
เวียนนา  
1968-69   สลอวันบราติสลาวา 3 - 2   บาร์เซโลนา แซงต์ ยาค็อป ปาร์ค,
บาเซิ่ล  
1967-68   มิลาน 2 - 0   ฮัมบวร์ค เดอ ไคป์,
ร็อตเตอร์ดัม  
1966-67   ไบเอิร์นมิวนิก 1 - 0
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
  กลาสโกว์เรนเจอส์ ฟรังเค่น สตาดิโอน,
เนิร์นแบร์ก  
1965-66   ดอร์ทมุนท์ 2 - 1
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
  ลิเวอร์พูล แฮมป์เด้น ปาร์ค,
กลาสโกว์  
1964-65   เวสต์แฮมยูไนเต็ด 2 - 0   1860 มิวนิก เวมบลีย์,
ลอนดอน  
1963-64   สปอร์ติงลิสบอน 3 - 3
(หลังต่อเวลาพิเศษ)


1 - 0
(แข่งใหม่)
  เอ็มทีเค บูดาเปสต์ เฮย์เซล สเตเดี้ยม,
บรัสเซลส์  

โบซูอิล สเตเดี้ยม,
อันท์เวิร์ป  
1962-63   ทอตนัมฮอตสเปอร์ 5 - 1   อัตเลติโกเดมาดริด เดอ ไคป์,
ร็อตเตอร์ดัม  
1961-62   อัตเลติโกเดมาดริด 1 - 1
(หลังต่อเวลาพิเศษ)


3 - 0
(แข่งใหม่)
  ฟีออเรนตีนา แฮมป์เด้น ปาร์ค,
กลาสโกว์  

เมอร์เซเดส-เบนซ์ อารีน่า,
ชตุทการ์ท  
1960-61   ฟีออเรนตีนา 2 - 1
(นัดแรก)

2 - 0
(นัดที่สอง)
  กลาสโกว์เรนเจอส์ ไอบร็อกซ์ ปาร์ค,
กลาสโกว์  

สตาดิโอ้ โคมูนาเล่,
ฟลอเรนซ์  

ทำเนียบผู้ชนะเลิศ

แก้

ชนะเลิศ (จำแนกตามสโมสร)

แก้
สโมสร ชนะเลิศ รองชนะเลิศ ปีที่ชนะเลิศ ปีที่ได้รองชนะเลิศ
  บาร์เซโลนา 4 2 1979, 1982, 1989, 1997 1969, 1991
  อันเดอร์เลคต์ 2 2 1976, 1978 1977, 1990
  มิลาน 2 1 1968, 1973 1974
  เชลซี 2 0 1971, 1998
  ดือนามอกือยิว 2 0 1975, 1986
  อัตเลติโกเดมาดริด 1 2 1962 1963, 1986
  กลาสโกว์เรนเจอส์ 1 2 1972 1961, 1967
  อาร์เซนอล 1 2 1994 1980, 1995
  ฟีออเรนตีนา 1 1 1961 1962
  เวสต์แฮมยูไนเต็ด 1 1 1965 1976
  ฮัมบวร์ค 1 1 1977 1968
  อายักซ์ 1 1 1987 1988
  ซัมป์โดเรีย 1 1 1990 1989
  ปาร์มา 1 1 1993 1994
  ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 1 1 1996 1997
  ทอตนัมฮอตสเปอร์ 1 0 1963
  สปอร์ติงลิสบอน 1 0 1964
  ดอร์ทมุนท์ 1 0 1966
  ไบเอิร์นมิวนิก 1 0 1967
  สลอวันบราติสลาวา 1 0 1969
  แมนเชสเตอร์ซิตี 1 0 1970
  มัคเดอบวร์ค 1 0 1974
  บาเลนเซีย 1 0 1980
  ดินาโม ทบิลิซี 1 0 1981
  แอเบอร์ดีน 1 0 1983
  ยูเวนตุส 1 0 1984
  เอฟเวอร์ตัน 1 0 1985
  เมเชเลน 1 0 1988
  แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 1 0 1991
  เบรเมิน 1 0 1992
  เรอัลซาราโกซา 1 0 1995
  ลัตซีโย 1 0 1999
  เรอัลมาดริด 0 2 1971, 1983
  ราพีทวีน 0 2 1985, 1996
  เอ็มทีเค บูดาเปสต์ 0 1 1964
  1860 มิวนิก 0 1 1965
  ลิเวอร์พูล 0 1 1966
  กอร์นิค ซาเบอร์เซ่ 0 1 1970
  ดินาโม มอสโก 0 1 1972
  ลีดส์ยูไนเต็ด 0 1 1973
  เฟเรนซ์วารอส 0 1 1975
  เอาส์ทรีอาวีน 0 1 1978
  ดึสเซิลดอร์ฟ 0 1 1979
  เยนา 0 1 1981
  ลีแยฌ 0 1 1982
  โปร์ตู 0 1 1984
  ไลพ์ซิช 0 1 1987
  โมนาโก 0 1 1992
  อันท์เวิร์ป 0 1 1993
  ชตุทการ์ท 0 1 1998
  มายอร์กา 0 1 1999

ชนะเลิศ (จำแนกตามสโมสร)

แก้
ชาติ ชนะเลิศ รองชนะเลิศ
  อังกฤษ 8 5
  สเปน 7 7
  อิตาลี 7 4
  เยอรมนี 5 6
  เบลเยียม 3 4
  สกอตแลนด์ 2 2
  ยูเครน 2 0
  ฝรั่งเศส 1 2
  เนเธอร์แลนด์ 1 1
  โปรตุเกส 1 1
  สโลวาเกีย 1 0
  จอร์เจีย 1 0
  ออสเตรีย 0 3
  ฮังการี 0 2
  โปแลนด์ 0 1
  รัสเซีย 0 1

อ้างอิง

แก้
  1. uefadirect, Issue 100: August 2010 เก็บถาวร 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Page 15 "European Cup Winners' Cup makes its debut".
  2. Weaver, Graham (2012-06-22). Gunners' Glory: 14 Milestones in Arsenal's History. Mainstream Publishing. p. 159. ISBN 9781780575186. สืบค้นเมื่อ 2 October 2015. The Cup-Winners' Cup is traditionally the weakest of the three European competitions
  3. Hesse-Lichtenberger, Ulrich (2003). Tor!: The Story of German Football. WSC Books Limited. p. 222. ISBN 9780954013455. สืบค้นเมื่อ 2 October 2015. Only three East German clubs ever reached a European final ... and they were all in the Cup-Winners Cup, the weakest of the three European competitions
  4. Spurling, Jon (2014-09-18). Red Letter Days: Fourteen Dramatic Events That Shook Arsenal Football Club. Pitch Publishing. p. 189. ISBN 9781909626935. สืบค้นเมื่อ 2 October 2015. The European Cup Winners' Cup had always been regarded as the weakest of the three continental competitions[ลิงก์เสีย]
  5. Kassimeris, Christos (2008). European football in black and white: tackling racism in football. Lexington Books. p. 26. ISBN 9780739119600. Only three East German clubs ever reached a European final — all in the Cup-Winners' Cup, the weakest of the three European competitions
  6. Ridley, Ian (9 February 1997). "Football: Driven to distraction by the Cup". Independent on Sunday. สืบค้นเมื่อ 2 October 2015. the Cup-winners' Cup ... is also the weakest and least regarded of the European competitions
  7. Donald, Stuart (2011-07-04). On Fire with Fergie. Headline. Chapter 12, footnote 2. ISBN 978-0755319817. สืบค้นเมื่อ 2 October 2015.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้