กล้องโทรทรรศน์อวกาศเคปเลอร์
กล้องโทรทรรศน์อวกาศเคปเลอร์ (อังกฤษ: Kepler space telescope) เป็นกล้องโทรทรรศน์อวกาศของ นาซา ที่ค้นพบดาวเคราะห์คล้ายโลกโคจรอยู่รอบ ๆ ดาวฤกษ์ดวงอื่น[5] การตั้งชื่อกล้องโทรทรรศน์อวกาศนำมาจากนักดาราศาสตร์ในศตวรรษที่ 17 โยฮันเนส เคปเลอร์[6] ขึ้นสู่อวกาศในวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 2009[7] หลังจากการปฏิบัติงานมากว่า 9 ปี เชื้อเพลิงของยานอวกาศเคปเลอร์ก็หมดลงทำให้นาซาประกาศปลดระวางภารกิจในวันที่ 30 ตุลาคม 2018[8][9]
กล้องโทรทรรศน์อวกาศเคปเลอร์ | |
---|---|
ภาพวาดในจินตนาการของกล้องโทรทรรศน์อวกาศเคปเลอร์ | |
ประเภทภารกิจ | กล้องโทรทรรศน์อวกาศ |
ผู้ดำเนินการ | นาซา / LASP |
COSPAR ID | 2009-011A |
SATCAT no. | 34380 |
เว็บไซต์ | www |
ระยะภารกิจ | วางแผน: 3.5 ปี สิ้นสุด: 9 ปี, 7 เดือน, 23 วัน |
ข้อมูลยานอวกาศ | |
ผู้ผลิต | Ball Aerospace & Technologies |
มวลขณะส่งยาน | 1,052.4 กิโลกรัม (2,320 ปอนด์)[1] |
มวลแห้ง | 1,040.7 กิโลกรัม (2,294 ปอนด์)[1] |
มวลบรรทุก | 478 กิโลกรัม (1,054 ปอนด์)[1] |
ขนาด | 4.7 โดย 2.7 เมตร (15.4 โดย 8.9 ฟุต)[1] |
กำลังไฟฟ้า | 1100 วัตต์[1] |
เริ่มต้นภารกิจ | |
วันที่ส่งขึ้น | 7 มีนาคม 2009, 03:49:57 UTC[2] |
จรวดนำส่ง | เดลต้า II (7925-10L) |
ฐานส่ง | สถานีกองทัพอากาศแหลมคะแนเวอรัล SLC-17B |
ผู้ดำเนินงาน | United Launch Alliance |
เริ่มปฎิบัติงาน | 12 พฤษภาคม 2009, 09:01 UTC |
สิ้นสุดภารกิจ | |
ปิดการทำงาน | 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 2018 |
ลักษณะวงโคจร | |
ระบบอ้างอิง | วงโคจรรอบดวงอาทิตย์ |
ระบบวงโคจร | ตามโลก |
กึ่งแกนเอก | 1.0133 AU |
ความเยื้อง | 0.036116 |
ระยะใกล้สุด | 0.97671 AU |
ระยะไกลสุด | 1.0499 AU |
ความเอียง | 0.4474 องศา |
คาบการโคจร | 372.57 วัน |
มุมของจุดใกล้ที่สุด | 294.04 องศา |
มุมกวาดเฉลี่ย | 311.67 องศา |
การเคลื่อนไหวเฉลี่ย | 0.96626 องศาต่อวัน |
วันที่ใช้อ้างอิง | 1 มกราคม 2018 (J2000: 2458119.5)[3] |
กล้องโทรทรรศน์หลัก | |
ชนิด | แบบชมิท |
เส้นผ่านศูนย์กลาง | 0.95 เมตร (3.1 ฟุต) |
พื่นที่รับแสง | 0.708 ตารางเมตร (7.62 ตารางฟุต)[a] |
ความยาวคลื่น | 430–890 nm[3] |
อุปกรณ์ส่งสัญญาณ | |
แบนด์วิดท์ | เอกซ์แบนด์ บน: 7.8 บิตต่อวินาที – 2 กิโลบิตต่อวินาที[3] เอกซ์แบนด์ ล่าง: 10 บิตต่อวินาที – 16 กิโลบิตต่อวินาที[3] Ka band ล่าง: จนถึง 4.3 เมกะบิตต่อวินาที[3] |
|
กล้องโทรทรรศน์อวกาศอันนี้ถูกสร้างขึ้นเพื่อค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบที่คล้ายโลกที่โครจรอยู่ในเขตอาศัยได้และทำการประมาณค่าว่าดาวฤกษ์หลายพันล้านดาวในทางช้างเผือกมีดาวเคราะห์ดังกล่าวกี่ดวง[10][11][12] อุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ที่ติดไปกับตัวกล้องนั้นคือเครื่องวัดความเข้มแสงที่คอยตรวจสอบความต่อเนื่องของแสงสว่างของดาวฤกษ์ประมาณ 150,000 ดวงในแถบลำดับหลัก[13] จากนั้นกล้องนจะส่งข้อมูลกลับไปยังสถานีเพื่อทำการตรวงสอบการบังแสงของดาวเคราะห์ในขณะที่มันโคจรผ่านดาวฤกษ์ ช่วงตลอดเวลา 9 ปีของภาระกิจมันทำการสังเกตดาวฤกษ์กว่า 530,506 ดาวและค้นพบดาวเคราะห์อีก 2,662 ดวง[14]
หมายเหตุ
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 "Kepler: NASA's First Mission Capable of Finding Earth-Size Planets" (PDF). NASA. กุมภาพันธ์ 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 10 มีนาคม 2009. สืบค้นเมื่อ 13 มีนาคม 2015.
- ↑ "KASC Scientific Webpage". Kepler Asteroseismic Science Consortium. Aarhus University. 14 มีนาคม 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 พฤษภาคม 2012. สืบค้นเมื่อ 14 มีนาคม 2009.
- ↑ 3.0 3.1 3.2 3.3 3.4 "Kepler (spacecraft)". JPL Horizons On-Line Ephemeris System. NASA/JPL. 6 มกราคม 2018. สืบค้นเมื่อ 6 มกราคม 2018.
- ↑ "Kepler Spacecraft and Instrument". NASA. 26 มิถุนายน 2013. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 มกราคม 2014. สืบค้นเมื่อ 18 มกราคม 2014.
- ↑ Koch, David; Gould, Alan (มีนาคม 2009). "Kepler Mission". NASA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 มีนาคม 2014. สืบค้นเมื่อ 14 มีนาคม 2009.
- ↑ DeVore, Edna (9 มิถุนายน 2008). "Closing in on Extrasolar Earths". space.com. สืบค้นเมื่อ 14 มีนาคม 2009.
- ↑ NASA Staff. "Kepler Launch". NASA. สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2009.
- ↑ Chou, Felicia; Hawkes, Alison; Cofield, Calia (30 ตุลาคม 2018). "NASA Retires Kepler Space Telescope". NASA. สืบค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2018.
- ↑ Overbye, Dennis (30 ตุลาคม 2018). "Kepler, the Little NASA Spacecraft That Could, No Longer Can". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2018.
- ↑ "Kepler: About the Mission". NASA / Ames Research Center. 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 พฤษภาคม 2012. สืบค้นเมื่อ 11 เมษายน 2016.
- ↑ Overbye, Dennis (12 พฤษภาคม 2013). "Finder of New Worlds". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 13 พฤษภาคม 2014.
- ↑ Overbye, Dennis (6 มกราคม 2015). "As Ranks of Goldilocks Planets Grow, Astronomers Consider What's Next". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 6 มกราคม 2015.
- ↑ Borucki, William J.; Koch, David; Basri, Gibor; และคณะ (กุมภาพันธ์ 2010). "Kepler Planet-Detection Mission: Introduction and First Results". Science. 327 (5968): 977–980. Bibcode:2010Sci...327..977B. doi:10.1126/science.1185402.
- ↑ Overbye, Dennis. "Kepler, the Little NASA Spacecraft That Could, No Longer Can". New York Times. สืบค้นเมื่อ 31 ตุลาคม 2018.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- Kepler Mission – NASA.
- Kepler Mission – KOI Data Search.
- Kepler Mission – Public Data.
- Kepler Mission – Audio (27:02) – AstronomyCast (2010).
- Kepler – Discoveries – Summary Table เก็บถาวร 2017-04-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน – NASA.
- Kepler – Discovery of New Planetary Systems (2013) เก็บถาวร 8 พฤษภาคม 2020 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
- Kepler – Tally of Planets/interactive (2013) – NYT.
- Kepler – Guest Observer Program เก็บถาวร 27 สิงหาคม 2012 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
- Kepler – Asteroseismic Science Consortium (KASC) เก็บถาวร 5 พฤษภาคม 2012 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
- Kepler – Spherical Panorama – Clean Room Before Fueling เก็บถาวร 20 ธันวาคม 2012 ที่ archive.today.
- กล้องโทรทรรศน์อวกาศเคปเลอร์ ที่เอกซ์ (ทวิตเตอร์).
- Extrasolar planet catalogs and databases
- "The Extrasolar Planets Encyclopaedia" (Paris Observatory)
- "The Habitable Exoplanets Catalog" (PHL/UPR Arecibo)
- "New Worlds Atlas" เก็บถาวร 4 มิถุนายน 2008 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (NASA/JPL PlanetQuest)