มันดาเว
มันดาเว (เซบัวโน: Mandaue; ฟิลิปปินส์: Mandaue) เป็นนครหนาแน่นในเขตกิตนางคาบีซายาอัน ประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นหนึ่งในนครหนาแน่นทั้งสามแห่งบนเกาะเซบู และเป็นส่วนหนึ่งของเขตมหานครเซบู[4] มันดาเวตั้งอยู่ริมชายฝั่งตะวันออกของเกาะเซบู โดยทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับเกาะมักตัน ซึ่งเป็นที่ตั้งของลาปู-ลาปู โดยระหว่างสองนครนี้มีสะพานมักตัน-มันดาเว และสะพานมาร์เซโล เฟร์นัน เป็นทางเชื่อม[5] มันดาเวติดกับนครเซบูทางทิศใต้และตะวันตก และติดกับเทศบาลโคนโซลาซีโยนทางทิศเหนือ ซึ่งสามารถเชื่อมต่อได้โดยสะพานอ่าวคันซากา ตัวนครมีพื้นที่ 6,220 เอเคอร์ ในปี ค.ศ. 2015 มีประชากร 362,654 คน และในปี ค.ศ. 2016 พบว่ามีผู้ใช้สิทธิ์เลือกตั้งได้ 189,712 คน
มันดาเว | |
---|---|
นครหนาแน่น | |
Lungsod ng Mandaue | |
มันดาเวเมื่อมองจากทะเล | |
สมญา: นครเครื่องเรือนแห่งฟิลิปปินส์ นครอุตสาหกรรมแห่งแดนใต้ | |
ที่ตั้งในจังหวัดเซบู | |
ประเทศ | ฟิลิปปินส์ |
เขต | กิตนางคาบีซายาอัน |
จังหวัด | เซบู |
District | 6th District of Cebu |
ก่อตั้ง | คริสตศตวรรษที่ 12–16 |
เทศบาล | ค.ศ. 1899 |
นคร | 21 มิถุนายน ค.ศ. 1969 |
นครหนาแน่น | 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1991 |
บารังไกย์ | 27 |
การปกครอง | |
• ประเภท | Sangguniang Panlungsod |
• นายกเทศมนตรี | Luigi Quisumbing |
• รองนายกเทศมนตรี | Carlo Fortuna |
• Representative | Jonas Cortes |
พื้นที่[1] | |
• ทั้งหมด | 34.87 ตร.กม. (13.46 ตร.ไมล์) |
ความสูงจุดสูงสุด | 100 เมตร (300 ฟุต) |
ประชากร (ค.ศ. 2015)[2] | |
• ทั้งหมด | 362,654 คน |
• ความหนาแน่น | 10,000 คน/ตร.กม. (27,000 คน/ตร.ไมล์) |
• ผู้เลือกตั้ง (ค.ศ. 2016)[3] | 189,712 คน |
เขตเวลา | UTC+8 (PST) |
รหัสไปรษณีย์ | 6014 |
ไอดีดี : รหัสโทรศัพท์ | +63 (0)32 |
ระดับรายได้ | ระดับที่ 1 |
PSGC | 072230000 |
Ecclesiastical province | Roman Catholic Archdiocese of Cebu |
Patron Saint | Joseph |
Diocesan Head | Daniel Sanico |
เว็บไซต์ | www |
เมืองพี่น้อง
แก้ในประเทศ
แก้ต่างประเทศ
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-03-13. สืบค้นเมื่อ 2018-04-26.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-05. สืบค้นเมื่อ 2018-04-26.
- ↑ "2016 National and Local Elections Statistics". Commission on Elections. 2016.
- ↑ "The brilliance of Mandaue City". Mandaue City. cebu-philippines.net.
- ↑ "Mandaue–Mactan Bridges I and II". Mandaue City. STS designs. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-10. สืบค้นเมื่อ 2018-04-26.
- ↑ "Mandaue City officials fly to Romania for sister-city deal". The Manila Bulletin Newspaper Online. Manila Bulletin Publishing Corporation. สืบค้นเมื่อ 2012-06-22.
- ↑ "Mandaue, Mosul sign sister-city agreement". Official Website of Mandaue City. The City of Mandaue. สืบค้นเมื่อ 2012-06-21.[ลิงก์เสีย]
แหล่งที่มา
แก้- Buzeta, Fr Manuel & Bravo, Fr Felipe, บ.ก. (1850). Diccionario, geografico, estadistico, historico de las Islas Filipinas (2 vols) (ภาษาสเปน). Madrid.
- Cebu Daily News, Norman V. Mendoza (January 23, 2015). "Rainbow lane in Mandaue".
- Mojares, Resil B. (1999). The war against the Americans: resistance and collaboration in Cebu. Ateneo de Manila Press. ISBN 978-9715502986.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ มันดาเว
วิกิท่องเที่ยว มีคำแนะนำการท่องเที่ยวสำหรับ มันดาเว