ภาษาหมิ่นเหนือ
ภาษาหมิ่นเหนือ หรือ ภาษาหมิ่นเป่ย์ (จีนตัวย่อ: 闽北; จีนตัวเต็ม: 閩北; พินอิน: Mǐnběi) เป็นสำเนียงของภาษาจีนหมิ่นที่พูดในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของมณฑลฝูเจี้ยน ภาษาจีนในมณฑลฝูเจี้ยนแบ่งเป็นสองสำเนียงคือภาษาหมิ่นเหนือกับภาษาหมิ่นใต้หรือภาษาจีนฮกเกี้ยน แต่ในปัจจุบัน ภาษาจีนหมิ่นถูกแบ่งละเอียดกว่านี้มาก[1] ในการแบ่งอยางแคบ สำเนียงย่อยของภาษาหมิ่นเหนือได้แก่ อู่อี๋ซาน, เจี้ยนโอว, ซงซี, เจิ้งเหอ, ผู่เฉิงตอนใต้ รวมไปถึงพื้นที่ส่วนใหญ่ของหนานผิง สำเนียงที่อยู่ทางตะวันออกของหนานผิงแยกเป็นอีกสำเนียงหนึ่งของภาษาจีนหมิ่น เรียกภาษาเซ่าเจียง
ภาษาหมิ่นเหนือ/หมิ่นเป่ย์ | |
---|---|
闽北语 | |
ประเทศที่มีการพูด | ภาคใต้ของ จีน, สหรัฐอเมริกา (ส่วนใหญ่ในแคลิฟอร์เนีย) |
ภูมิภาค | ภาคกลางและภาคตะวันตกเฉียงเหนือของมณฑลฝูเจี้ยน; หนานผิง |
จำนวนผู้พูด | 10.3 ล้านคน (ไม่พบวันที่) |
ตระกูลภาษา | จีน-ทิเบต
|
รหัสภาษา | |
ISO 639-1 | zh |
ISO 639-2 | chi (B) zho (T) |
ISO 639-3 | mnp |
อ้างอิง
แก้- ↑ Zev Handel (2003). "Northern Min Tone Values and the Reconstruction of Softened Initials" (PDF). Language and Linguistics. 4 (1): 47–84. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-03. สืบค้นเมื่อ February 16, 2011.
- Branner, David Prager (2000). Problems in Comparative Chinese Dialectology — the Classification of Miin and Hakka. Trends in Linguistics series, no. 123. Berlin: Mouton de Gruyter. ISBN 31-101-5831-0.