ผู้ใช้:Aquapatinth/noto express/pad8
สมุดเลกเชอร์
Time line
แก้- พ.ศ. - [1]
- พ.ศ. 1043 -
พระยาพาลีราชแห่งละโว้ เป็นผู้ก่อตั้งเมืองสุโขทัย - พ.ศ. 1160 (617 CE) - พระเจ้าสินุโล (Meng Xinuluo 蒙細奴邏) สถาปนาอาณาจักรต้าเมง (Damengguo 大蒙國)[2]
- พ.ศ. 1625 - พระเจ้านารายณ์ ขึ้นครองราชสมบัติ อาณาจักรละโว้-อโยธยา [3]
- พ.ศ. 1630 - พระเจ้านารายณ์ สวรรคต เกิดเหตุจลาจลในเมืองอโยธยา [4]
- พ.ศ. 1632 - พระเจ้าหลวง ขึ้นครองราชสมบัติ อาณาจักรละโว้-อโยธยา [5]
- พ.ศ. 1654 - พระเจ้าสายน้ำผึ้ง ได้ขึ้นครองราชสมบัติ อาณาจักรละโว้-อโยธยา จากการเสี่ยงทายเรือพระที่นั่งของพราหมณ์ในราชสำนัก [6]
- พ.ศ. 1708 - พระเจ้าสายน้ำผึ้ง สวรรคต พระเจ้าธรรมิกราช ขึ้นครองราชสมบัติ อาณาจักรละโว้-อโยธยา [7]
- พ.ศ. 1748 - พระเจ้าอู่ทอง ขึ้นครองราชสมบัติ อาณาจักรละโว้-อโยธยา ต่อจาก พระเจ้าธรรมิกราช[8]
- พ.ศ. 1748 - หลังพระเจ้าอู่ทองขึ้นครองราชสมบัติ อาณาจักรละโว้-อโยธยา โปรดให้ราชบุตรทั้งสามไปครองเมืองต่างๆ คือ เจ้าอ้ายครองเมืองนคร เจ้ายี่ครองเมืองตะนาว และเจ้าสามครองเมืองเพชรบุรี[9]
- พ.ศ. 1762 - พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ ขึ้นครองราชสมบัติ อาณาจักรสุโขทัย [10]
- พ.ศ. 1780 - พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ ขึ้นครองราชสมบัติ อาณาจักรสุโขทัย [11]
- พ.ศ. 1792 - พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ สวรรคต [12]
- พ.ศ. 1796 - พระเจ้าชัยเสน ขึ้นครองราชสมบัติ อาณาจักรละโว้-อโยธยา ต่อจาก พระเจ้าอู่ทอง[13]
- พ.ศ. 1817 - ซั่ยเตี๋ยนเชอซันลือติน ได้รับการแต่งตั้งให้ปกครองมณฑลยูนนานของมองโกล [14]
- พ.ศ. 1823 - พระเจ้าสุวรรณราชา ขึ้นครองราชสมบัติ อาณาจักรละโว้-อโยธยา ต่อจาก พระเจ้าชัยเสน[15]
- พ.ศ. 1844 - พระเจ้าธรรมราชา ขึ้นครองราชสมบัติ อาณาจักรละโว้-อโยธยา ต่อจาก พระเจ้าสุวรรณราชา[16]
- พ.ศ. 1852 - เกิดกบถเช่อหลี่ในเมืองเชียงรุ่ง โดยพ่อขุนเม็งรายเป็นผู้สนับสนุน [17]
- พ.ศ. 1853 - พระเจ้าบรมราชา ขึ้นครองราชสมบัติ อาณาจักรละโว้-อโยธยา ต่อจาก พระเจ้าธรรมราชา[18]
- พ.ศ. 1883 - พญางั่วนำถม ขึ้นครองเมืองสุโขทัย ส่วนพญาลิไทครองเมืองศรีสัชนาลัย[19][20]
- พ.ศ. 1887 - พระเจ้าวรเชษฐ์ ขึ้นครองราชสมบัติ อาณาจักรละโว้-อโยธยา ต่อจาก พระเจ้าบรมราชา[21]
- พ.ศ. 1890 - พญาลิไท ขึ้นครองราชสมบัติ อาณาจักรสุโขทัย พร้อมเฉลิมพระนามเป็นพระมหาธรรมราชาที่ 1[22]
- พ.ศ. 1893 - พระเจ้าวรเชษฐ์ สถาปนาอาณาจักรอยุธยา พร้อมเฉลิมพระนามเป็นสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 [23]
- พ.ศ. 1902 - สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ยกทัพไปตี เมืองสุโขทัย และเมืองสรลวงสองแควครั้งแรก[24]
- พ.ศ. 1905 - สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ทรงตีได้เมืองสรลวงสองแควสำเร็จ[25]
- พ.ศ. 1905 - สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 โปรดให้ พระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไท) ย้ายไปครองสรลวงสองแคว ส่วนสุโขทัยโปรดให้ พระมหาเทวี ครองแทน [26]
- พ.ศ. 1912 - สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 สวรรคต [27]
- พ.ศ. 1912 - พระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไท) แสดงพระราชอำนาจโดยเกณฑ์ไพร่พลจาก เมืองสรลวงสองแคว เมืองปากยม เมืองพระบาง เมืองชากังราว เมืองสุพรรณภาว เมืองนครชุม เมืองบางพาน เมืองราด เมืองสะค้า และเมืองลุม เข้าไปสักการะรอยพระพุทธบาทในเมืองสุโขทัย พระมหาเทวียอมเวนราชสมบัติคืนให้[28]
- พ.ศ. 1912 - พระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไท) ส่ง พระสุมนะ เป็นสมณทูตจากสุโขทัย เจรจาขอเมืองตากคืนจากอาณาจักรล้านนา และเป็นผลสำเร็จ[29]
- พ.ศ. 1913 - พระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไท) สวรรคต [30]
- พ.ศ. 1914 - สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 (พะงั่ว) ทรงจัดระเบียบเมืองเหนือ ให้ พระมหาเทวี ครอง [31]
- พ.ศ. 1915 - สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 ทรงตีได้ เมืองพังคา และเมืองแซงเซรา [32]
- พ.ศ. 1916 - สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 ทรงตี เมืองชากังราว ครั้งแรก ไม่สำเร็จ [33]
- พ.ศ. 1919 - สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 ทรงตี เมืองชากังราว ครั้งที่สอง พระยาผากองแพ้ แต่ชากังราวยังไม่แตก [34]
- พ.ศ. 1921 - สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 ทรงตี เมืองชากังราว ครั้งที่สาม และสำเร็จ พระมหาธรรมราชาที่ 2 ถวายบังคมยอมแพ้ ณ เมืองชากังราว[35]
- พ.ศ. 1921 - สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 ทรงจัดระเบียบเมืองเหนืออีกครั้ง [36]
- พ.ศ. 1931 - สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 สวรรคต [37]
- พ.ศ. 1931 - รัฐสุพรรณภูมิ สถาปนาเมืองกำแพงเพชร ตรงข้ามฝั่งแม่น้ำปิงกับเมืองนครชุม [38]
- พ.ศ. 1931 - พระศรีเทพาหูราช ถอยร่นจากสุโขทัย ไปยังเมืองกำแพงเพชรที่สร้างใหม่[39]
- พ.ศ. 1938 - เจ้านครอินทร์ ประกอบพิธีราชาภิเษก ณ เมืองกำแพงเพชร และทรงตรากฎหมายสำหรับ สุโขทัย และ สุพรรณภูมิ[40]
- พ.ศ. 1952 - สมเด็จพระนครินทราธิราช ครองบัลลังก์ อาณาจักรอยุธยา และส่งเสริมการทำสังคโลก ที่ดินแดนสุโขทัย[41]
- พ.ศ. 1952 - สมเด็จพระนครินทราธิราช โปรดให้ เจ้าอ้ายพระยาครองเมืองสุพรรณบุรี เจ้ายี่พระยาครองเมืองแพรกศรีราชา เจ้าสามพระยาครองเมืองชัยนารถ (เขียน ชัยนาถ)[42]
- พ.ศ. 1962 - พระมหาธรรมราชาที่ 3 (ไสลือไท) สวรรคต เมืองเหนือวุ่นวาย[43]
- พ.ศ. 1962 - เจ้าสามพระยาครอง เมืองชัยนารถ [44]
- พ.ศ. 1967 - สมเด็จพระนครินทราธิราช สวรรคต เจ้าสามพระยา ครองอยุธยาต่อ เป็น สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2[45]
- พ.ศ. 1967 - ปรากฏพระนาม พระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล) ครองอาณาจักรสุโขทัยอยู่ที่เมืองสรลวงสองแคว[46]
- พ.ศ. 1989 - พระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล) สวรรคต ราชสำนักอยุธยาส่ง พระราเมศวร ไปครองสรลวงสองแควต่อ [47]
- พ.ศ. 1991 - พระราเมศวร ขึ้นครองอยุธยาเป็น สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ และให้ พระยายุทธิษฐิระ ครองสองแควต่อ [48]
- พ.ศ. 1994 - พระยายุทธิษฐิระ สวามิภักดิ์พระเจ้าติโลกราช และเชิญทัพพระเจ้าติโลกราช มาตี เมืองทุ่งยั้ง เมืองสรลวงสองแคว และเมืองปากยม [49]
- ไม่ปรากฏปี - พระเจ้าติโลกราช ยกทัพมาตี ชากังราว สุโขทัย พิษณุโลก แต่ไม่สำเร็จ [50]
- ไม่ปรากฏปี - สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ยกทัพไปต้านพระเจ้าติโลกราช ด้านพระยาเชลียง (เชียงชื่น) หนีไปขึ้นกับพระเจ้าติโลกราช [51]
- พ.ศ. 2008 - พระเจ้าติโลกราช โปรดให้หมื่นด้งนคร ครองเมืองศรีสัชนาลัย [52][53]
- ไม่ปรากฏปี - สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ตีเมืองเชลียง (เชียงชื่น) คืนมาได้ [54]
- พ.ศ. 2243 - ราชสำนักอาณาจักรรัตนปุระอังวะ แยกเมืองเชียงแสน รวมกับเมืองกาย เมืองไร เมืองเลน เมืองพะยาก เมืองกะเลง เมืองเชียงลาบ เมืองหลวงภูคา ตั้งเป็น แคว้นเชียงแสน มีศักดิ์และสิทธิ์เทียบเท่าแคว้นเชียงใหม่[55]
อื่นๆ
แก้- อาณาจักรสุโขทัย เดิมนับถือพระพุทธศาสนานิกายมหายาน ภายหลังเปลี่ยนเป็นเถรวาท[58]
- พ่อขุนผาเมือง และเมืองราด น่าจะอยู่ลุ่มน้ำน่าน เพราะเจ้าฟ้าน่าน ล้วนมีนามผา เช่น ผากอง ผานอง ผาสุม[59]
- พญาศรีศรัทธา เป็นหลานปู่พ่อขุนศรีนาวนำถม และเป็นลูกพระยาคำแหงพระราม[60]
- ขอมสบาดโขลญลำพง อาจหมายถึง เจ้าเมืองลำพง ซึ่งอาจจะเป็นเมืองๆหนึ่งที่ขึ้นกับรัฐสุโขทัย ในสมัยพ่อขุนศรีนาวนำถม[61]
- พญางั่วนำถม เป็นหลานตาพ่อขุนศรีนาวนำถม และเป็นหลานลุงพ่อขุนผาเมือง[62]
- ชัยนารถ เขียนแบบนี้ และต่อมาคือ พิษณุโลก[63]
- พระสุมนะ (สุโขทัย) และพระอโนมทสี (ศรีสัชนาลัย) ไปนครพัน - พระสุมนะ นำพระบรมสารีริกธาตุ ถวายพญาลิไท ณ เมืองศรีสัชนาลัย [64]
- พญาลิไท ปราบเมืองสรลวงสองแคว เมืองราด เมืองลุม - พญาศรีศรัทธา ออกผนวช [65]
- พระยายุทธิษฐิระ เป็นพระญาติฝ่ายพระราชมารดา กับสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ [66]
- เมืองเหนือประกอบด้วย เมืองพิษณุโลก (เมืองสรลวงสองแคว) เมืองสุโขทัย เมืองศรีสัชนาลัย (เมืองสวรรคโลก หรือเมืองเชลียง หรือเมืองเชียงชื่น) เมืองกำแพงเพชร (รวมเมืองนครชุม) เมืองพิจิตร (รวมเมืองปากยม) เมืองพระบาง และเมืองทุ่งยั้ง (เมืองพิชัย) [67]
เชิงอรรถ
แก้- ↑ Lorem Ipsum
- ↑ Nanzhao 南詔 - chinaknowledge.de
- ↑ สุจิตต์ฯ ภาคผนวก 154-157
- ↑ สุจิตต์ฯ ภาคผนวก 154-157
- ↑ สุจิตต์ฯ ภาคผนวก 154-157
- ↑ สุจิตต์ฯ ภาคผนวก 154-157
- ↑ สุจิตต์ฯ ภาคผนวก 154-157
- ↑ สุจิตต์ฯ ภาคผนวก 154-157
- ↑ พระราชพงศาวดารเหนือ ซึ่งไม่ได้ระบุปี พ.ศ. ไว้ ในที่นี้ใช้การอ้างอิงตามหลักฐานอื่นด้านบน
- ↑ พลาดิศัยฯ 45
- ↑ สุจิตต์ฯ ภาคผนวก 154-157
- ↑ พลาดิศัยฯ 45
- ↑ สุจิตต์ฯ ภาคผนวก 154-157
- ↑ หวังจี้หมินฯ 69
- ↑ สุจิตต์ฯ ภาคผนวก 154-157
- ↑ สุจิตต์ฯ ภาคผนวก 154-157
- ↑ หวังจี้หมินฯ 79
- ↑ สุจิตต์ฯ ภาคผนวก 154-157
- ↑ สุจิตต์ฯ 112
- ↑ สุจิตต์ฯ ภาคผนวก 154-157
- ↑ สุจิตต์ฯ ภาคผนวก 154-157
- ↑ สุจิตต์ฯ ภาคผนวก 154-157
- ↑ สุจิตต์ฯ ภาคผนวก 154-157
- ↑ พิเศษฯ 21
- ↑ พิเศษฯ 21
- ↑ สุจิตต์ฯ 126
- ↑ สุจิตต์ฯ 127
- ↑ สุจิตต์ฯ 128
- ↑ สุจิตต์ฯ 129
- ↑ สุจิตต์ฯ 129
- ↑ สุจิตต์ฯ 130
- ↑ สุจิตต์ฯ 130
- ↑ พลาดิศัยฯ 74
- ↑ พลาดิศัยฯ 74
- ↑ พลาดิศัยฯ 74
- ↑ สุจิตต์ฯ 130
- ↑ สุจิตต์ฯ 131
- ↑ พิเศษฯ 44
- ↑ พิเศษฯ 40
- ↑ สุจิตต์ฯ 135
- ↑ สุจิตต์ฯ 135
- ↑ พิเศษฯ 75
- ↑ สุจิตต์ฯ 136
- ↑ สุจิตต์ฯ 136
- ↑ สุจิตต์ฯ 137
- ↑ สุจิตต์ฯ 137
- ↑ สุจิตต์ฯ 138
- ↑ สุจิตต์ฯ 138
- ↑ พิเศษฯ 82
- ↑ สุจิตต์ฯ 139
- ↑ สุจิตต์ฯ 139
- ↑ พิเศษฯ 82
- ↑ สุจิตต์ฯ 139
- ↑ สุจิตต์ฯ 140
- ↑ กก.ปวศ.ชม.ฯ 82
- ↑ สุจิตต์ 128
- ↑ พลาดิศัยฯ 37, 39
- ↑ สุจิตต์ฯ 82
- ↑ พลาดิศัยฯ 36
- ↑ ขจรฯ 56
- ↑ ขจรฯ 58
- ↑ ขจรฯ 76
- ↑ สุจิตต์ฯ 67
- ↑ สุจิตต์ฯ 112
- ↑ สุจิตต์ฯ 114
- ↑ สุจิตต์ฯ 138
- ↑ พิเศษฯ 57
อ้างอิง
แก้- สุจิตต์ วงษ์เทศ. กรุงสุโขทัย มาจากไหน?. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มติชน, พ.ศ. 2548. ISBN 974-323-517-5
- ขจร สุขพานิช. ข้อมูลประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย. กรุงเทพฯ : องค์การค้าของคุรุสภา, 2545 (พิมพ์ครั้งที่ 2). ISBN 974-00-8297-1
- พลาดิศัย สิทธิธัญกิจ. เล่าเรื่องเมืองสุโขทัย. กรุงเทพฯ : บันทึกสยาม, 2546. ISBN 974-91484-4-4
- พิเศษ เจียจันทร์พงษ์. พระมหาธรรมราชากษัตราธิราช. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน, พ.ศ. 2546. 184 หน้า. ISBN 974-322-818-7
- คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์. ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่. กรุงเทพฯ : สำนักนายกรัฐมนตรี, พ.ศ. 2514.
- หวังจี้หมิน. ความสัมพันธ์ระหว่างเมืองเช่อหลี่กับเมืองป่าไป่ชีฟู ในพุทธศตวรรษที่ 19. กรุงเทพฯ : วิทยานิพนธ์ อักษรศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531.
- D.G.E. HALL. ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ : สุวรรณภูมิ-อุษาคเนย์ภาคพิสดาร (1-2). กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, พ.ศ. 2549 (พิมพ์ครั้งที่ 3). ISBN 9749470958
- Nanzhao 南詔 - Non-Chinese peoples and neighboring states . chinaknowledge.de. 2012-03-11. URL:chinaknowledge.de/History/Altera/nanzhao.html. Accessed: 2012-03-11. (Archived by WebCite® at 6651tVPHB)