ผักกาดก้านขาว (ชื่อวิทยาศาสตร์: Brassica napus) เป็นพืชดอกสีเหลืองสดในวงศ์ผักกาด (Brassicaceae) ผักกาดก้านขาวเป็นแหล่งใหญ่อันดับสามที่ใช้ในการผลิตน้ำมันพืชของโลกใน ค.ศ. 2000 น้ำมันจากผักกาดก้านขาวยังใช้ในการผลิตไบโอดีเซลได้ นอกจากนั้นใบและก้านของผักกาดก้านขาวยังกินได้อีกด้วย

ผักกาดก้านขาว
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แก้ไขการจำแนกนี้
อาณาจักร: พืช
Plantae
เคลด: พืชมีท่อลำเลียง
Tracheophytes
เคลด: พืชดอก
Angiosperms
เคลด: พืชใบเลี้ยงคู่แท้
Eudicots
เคลด: โรสิด
Rosids
อันดับ: อันดับผักกาด
Brassicales
วงศ์: วงศ์ผักกาด
Brassicaceae
สกุล: Brassica
Brassica
L.[note 1]
สปีชีส์: Brassica napus
ชื่อทวินาม
Brassica napus
L.[note 1]

ผักกาดก้านขาวมีชื่อพื้นเมืองอื่นดังนี้ ผักกาดมูเซอ, ผักกาดยาง (เชียงใหม่) และสะเบเด๊าะ (กะเหรี่ยง, แม่ฮ่องสอน)[2]

การผลิต

แก้

องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติรายงานการผลิตผักกาดก้านขาวทั่วโลกที่ 36 ล้านคนในฤดูกาล 2003–2004 และประมาณการที่ 58.4 ล้านตันในฤดูกาล 2010–2011[3]

ผู้ผลิตผักกาดก้านขาวอันดับต้นของโลกในหน่วยล้านตัน[4][5]
ประเทศ 1965 1975 1985 1995 2000 2005 2007 2009 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020
  แคนาดา 0.5 1.8 3.5 6.4 7.2 9.4 9.6 11.8 14.2 15.4 17.9 15.5 18.4 18.4 21.3 20.3 18.6 19.5
  จีน 1.1 1.5 5.6 9.8 11.3 13.0 10.5 13.5 13.4 14.0 14.4 14.8 14.9 15.3 13.3 13.3 13.5 14.0
  อินเดีย 1.5 2.3 3.1 5.8 5.8 7.6 7.4 7.2 8.2 6.8 7.8 7.9 6.3 6.8 7.9 8.4 9.3 9.1
  ฝรั่งเศส 0.3 0.5 1.4 2.8 3.5 4.5 4.7 5.6 5.4 5.5 4.4 5.5 5.3 4.7 5.3 5.0 3.5 3.3
  ปากีสถาน <0.007 <0.06 <0.03 <0.1 0.1 0.3 1.0 1.9 1.4 1.2 2.4 2.2 1.7 1.1 2.2 2.8 3.3 0.6
  เยอรมนี 0.3 0.6 1.2 3.1 3.6 5.0 5.3 6.3 3.9 4.8 5.8 6.2 5.0 4.6 4.3 3.7 2.8 3.5
  ออสเตรเลีย <0.007 <0.06 0.1 0.6 1.8 1.4 1.1 1.9 2.4 3.4 4.1 3.8 3.5 2.9 4.3 3.9 2.4 2.3
  โปแลนด์ 0.5 0.7 1.1 1.4 1.0 1.4 2.1 2.5 1.9 1.9 2.7 3.3 2.7 2.2 2.7 2.1 2.3 3.0
  รัสเซีย N/A N/A N/A 0.1 0.1 0.3 0.6 0.7 1.1 1.0 1.4 1.3 1.0 1.0 1.5 2.0 2.1 2.6
  สหราชอาณาจักร <0.007 0.06 0.9 1.2 1.2 1.9 2.1 2.0 2.8 2.6 2.1 2.5 2.5 1.8 2.2 2.0 1.8 1.0
  สหรัฐ <0.007 <0.06 <0.03 0.2 0.9 0.7 0.7 0.7 0.7 1.1 0.9 1.1 1.3 1.4 1.4 1.6 1.6 1.6
  เช็กเกีย 0.07 0.1 0.3 0.7 0.8 0.7 1.0 1.1 1.0 1.1 1.4 1.5 1.3 1.4 1.2 1.4 1.2 1.2
  ฮังการี 0.008 0.1 0.1 0.1 0.2 0.3 0.5 0.6 0.5 0.4 0.5 0.7 0.6 0.6 0.9 1.0 0.9 0.9
  โรมาเนีย 0.01 0.02 0.04 0.04 0.1 0.1 0.4 0.6 0.7 0.2 0.7 1.1 0.9 1.3 1.7 1.6 0.8 0.8
  เดนมาร์ก 0.05 0.1 0.5 0.3 0.3 0.3 0.6 0.6 0.5 0.5 0.7 0.7 0.8 0.5 0.7 0.5 0.7 0.6
  ลิทัวเนีย N/A N/A N/A 0.02 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.5 0.5 0.5 0.4 0.5 0.4 0.7 1.0
  เบลารุส N/A N/A N/A 0.03 0.07 0.1 0.2 0.6 0.4 0.7 0.7 0.7 0.4 0.5 0.6 0.5 0.6 0.7
World Total 5.2 8.8 19.2 34.2 39.5 46.4 50.5 61.6 62.5 64.8 72.5 73.8 71.2 68.9 76.6 75.2 70.5 72.4

หมายเหตุ

แก้
  1. Brassica napus เดิมได้รับการกล่าวถึงและตีพิมพ์ใน Species Plantarum 2:666. 1753.[1]

อ้างอิง

แก้
  1. GRIN 2010a.
  2. เต็ม สมิตินันทน์ ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย เก็บถาวร 2010-05-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, พ.ศ. 2549
  3. "Oilseeds: World Markets and Trade" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 8 February 2012. สืบค้นเมื่อ 17 February 2012.
  4. FAOSTAT เก็บถาวร 2006-06-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. UN Food & Agriculture Organisation.
  5. FAOSTAT. UN Food & Agriculture Organisation.

ข้อมูลทั่วไป

แก้

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้
  •   วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Brassica napus
  •   วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Rapeseed oil