ทะเล
ทะเล เป็นแหล่งน้ำเค็มขนาดใหญ่ที่ล้อมรอบด้วยพื้นดินทั้งหมดหรือบางส่วน.[1] เมื่อกล่าวถึงกว้าง ๆ ทะเล คือระบบที่เชื่อมกันระหว่างผืนน้ำมหาสมุทรน้ำเค็มบนโลก ถือเป็นมหาสมุทรโลก หรือแยกเป็นมหาสมุทรหลาย ๆ แห่ง ทะเลบรรเทาภูมิอากาศของโลก และมีบทบาทสำคัญในวัฏจักรน้ำ และวัฏจักรคาร์บอน แม้ว่ามีการเดินทางและสำรวจทะเลตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์สมัยใหม่เกี่ยวกับทะเลที่เรียกว่า สมุทรศาสตร์ สืบย้อนไปได้ถึงคณะเดินทางแชลเลนเจอร์ของชาวอังกฤษในคริสต์ทศวรรษ 1870[2] ทะเลถูกแบ่งออกเป็นส่วน ๆ ได้ 5 ส่วน รวมถึงมหาสมุทร 4 แห่ง ที่ตั้งชื่อโดยองค์การอุทกศาสตร์สากล[3] (มหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทรอาร์กติก) และมหาสมุทรใต้[4] ทะเลที่มีขนาดเล็กกว่า และอยู่ในระดับรองลงมา เช่น ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ "WordNet Search — sea". Princeton University. สืบค้นเมื่อ February 21, 2012.
- ↑ National Oceanic and Atmospheric Administration. "Then and Now: The HMS Challenger Expedition and the 'Mountains in the Sea' Expedition". Ocean Explorer.
- ↑ International Hydrographic Organization. "Limits of Oceans and Seas (Special Publication №28) เก็บถาวร 2011-10-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน", 3rd ed. Imp. Monégasque (Monte Carlo), 1953. Retrieved 7 February 2010.
- ↑ Oxford English Dictionary, 1st ed. "sea, n." Oxford University Press (Oxford), 1911.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ ทะเล
- National Oceanic and Atmospheric Administration—NOAA website เก็บถาวร 2013-04-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Oceans ที่เว็บไซต์ Curlie