ตามัว[6] (อังกฤษ: Amblyopia) หรือที่นิยมเรียกว่า ตาขี้เกียจ (อังกฤษ: Lazy eye) เป็นความผิดปกติทางสายตาที่มีสายตาแย่ลงในดวงตาที่มีโครงสร้างปกติ หรือสายตาแย่ลงอย่างไม่เป็นสัดส่วนกับความผิดปกติทางโครงสร้างของตา ประมาณกันว่ามีผู้ป่วยตาขี้เกียจอยู่ประมาณร้อยละ 1 ถึง 5 ของประชากร[5]

ตามัว
ชื่ออื่นตาขี้เกียจ[1]
เด็กที่แปะกาวปิดตาเพื่อรักษาตาขี้เกียจ
การออกเสียง
สาขาวิชาจักษุวิทยา
อาการการมองเห็นลดลง
การตั้งต้นก่อนอายุ 5 ขวบ[2]
สาเหตุการจัดตำแหน่งตาไม่ดี, ตามีรูปทรงผิดปกติทำให้การโฟกัสทำได้ยาก, ตาข้างหนึ่งมองเห็นใกล้หรือไกลเกิน, เลนส์ตามัว[1]
วิธีวินิจฉัยการทดสอบการมองเห็น[1]
โรคอื่นที่คล้ายกันความผิดปกติของก้านสมอง, ความผิดปกติของเส้นประสาทตา, โรคของตา[3]
การรักษาแว่นตา, ผ้าปิดตา[1][2][4]
ความชุกผู้ใหญ่ประมาณร้อยละ 2[5]

สาเหตุของตาขี้เกียจเกิดจากการขาดหรือบกพร่องในการกระตุ้นด้วยภาพไปสู่ระบบประสาทการมองเห็นในสมองเป็นระยะเวลาหนึ่งในช่วงวัยเด็ก โดยทั่วไปมักเป็นในตาเพียงข้างเดียว แต่อาจเป็นในตาทั้งสองข้างก็ได้ การตรวจพบตาขี้เกียจในช่วงเริ่มแรกจะทำให้มีโอกาสรักษาได้ผลดี

ตาขี้เกียจกับตาเขมีความเกี่ยวข้องกันอย่างมาก แต่ไม่ใช่สิ่งเดียวกัน

อ้างอิง

แก้
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 "Facts About Amblyopia". National Eye Institute. กันยายน 2013. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 กรกฎาคม 2016. สืบค้นเมื่อ 27 กรกฎาคม 2016.
  2. 2.0 2.1 Jefferis JM, Connor AJ, Clarke MP (November 2015). "Amblyopia". BMJ. 351: h5811. doi:10.1136/bmj.h5811. PMID 26563241. S2CID 220101666.
  3. Ferri FF (2010). Ferri's differential diagnosis: a practical guide to the differential diagnosis of symptoms, signs, and clinical disorders (2nd ed.). Philadelphia, PA: Elsevier/Mosby. p. Chapter A. ISBN 978-0-323-07699-9.
  4. Maconachie GD, Gottlob I (December 2015). "The challenges of amblyopia treatment". Biomedical Journal. 38 (6): 510–6. doi:10.1016/j.bj.2015.06.001. PMC 6138377. PMID 27013450.
  5. 5.0 5.1 Webber AL; Wood J (November 2005). "Amblyopia: prevalence, natural history, functional effects and treatment". Clinical & Experimental Optometry. 88 (6): 365–75. doi:10.1111/j.1444-0938.2005.tb05102.x. PMID 16329744.
  6. "ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]". Longdo Dict. สืบค้นเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)

อ่านเพิ่ม

แก้

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้
การจำแนกโรค
ทรัพยากรภายนอก