ดนตรีแทร็ป
ดนตรีแทร็ป (อังกฤษ: trap music) เป็นแนวเพลงย่อยของฮิปฮอปที่มีต้นกำเนิดมาจาก ภาคใต้ของสหรัฐ ในช่วงต้นยุค 2000[3] แนวเพลงได้ชื่อมาจากคำสแลงของแอตแลนตา "แทร็ป" บ้านที่ใช้เฉพาะขายยา[4] ดนตรีแทร็ปใช้กลองสังเคราะห์เสียง และมีลักษณะรูปแบบไฮแฮตที่ซับซ้อน ปรับเสียงกลองใหญ่ ให้มีเสียงยาว (มีพื้นเพมาจาก โรแลนด์ ทีอาร์-808) และเนื้อเพลงที่เป็นโคลงสั้น ๆ ที่มักเน้นเรื่องการใช้ยาเสพติดและความรุนแรงในเมือง[5][6][7][8] ใช้เครื่องดนตรีน้อย และเน้นเฉพาะกลองเล็ก และไฮแฮต สองหรือสามจังหวะ[9][10]
แทร็ป | |
---|---|
แหล่งกำเนิดทางรูปแบบ | Snap music |
แหล่งกำเนิดทางวัฒนธรรม | ต้นทศวรรษที่ 1990[1] แอตแลนตา รัฐจอร์เจีย สหรัฐ |
เครื่องบรรเลงสามัญ | |
รูปแบบอนุพันธุ์ | |
แนวย่อย | |
| |
แนวประสาน | |
ทัศนียภาพในระดับท้องถิ่น | |
ผู้บุกเบิกแนวเพลงนี้ได้แก่ โปรดิวเซอร์ เคอร์ติส แมนโทรนิก (Kurtis Mantronik) แมนนี เฟรช (Mannie Fresh) ชอว์ตี เรดด์ (Shawty Redd) เซย์โทเวน (Zaytoven) แฟตบอย (Fatboi) ดีเจสกรู (DJ Screw) และ ดีเจทูมป์ (DJ Toomp) พร้อมด้วยแร็ปเปอร์ ยัง จีซซี (Young Jeezy) กุชชี เมน (Gucci Mane) และ ที.ไอ. (ผู้สร้างคำนี้จากอัลบั้มปี 2003 Trap Muzik) อย่างไรก็ตาม ดนตรีแทร็ปสมัยใหม่ได้รับความนิยมจากโปรดิวเซอร์ เล็กซ์ ลูเกอร์ (Lex Luger) ที่สร้างอิทธิพลให้กับอัลบั้ม Flockaveli ของ วากา ฟล็อกกา เฟลม (Waka Flocka Flame) ในปี ค.ศ. 2010 และร่วมก่อตั้งทีมผลิตฮิปฮอป 808 Mafia[4]
อ้างอิง
แก้- ↑ Sanfiorenzo, Dimas (November 18, 2017). "T.I. & Gucci Mane Both Claim They Invented "Trap Music" (They're Both Wrong)". Okayplayer.
- ↑ Enis, Eli (October 27, 2020). "This is Hyperpop: A Genre Tag for Genre-less Music". Vice.
The PC Music sound is an undeniable influence on hyperpop, but the style also pulls heavily from rap of the cloud, emo and lo-fi trap variety, as well as flamboyant electronic genres like trance, dubstep and chiptune.
- ↑ https://www.masterclass.com/articles/trap-music-guide
- ↑ 4.0 4.1 "Types Of Rap: A guide to the many styles of hip-hop". Redbull. January 24, 2020. สืบค้นเมื่อ April 17, 2020.
- ↑ "Quit Screwing with Trap Music: An Interview with Houston-Born Producer Lōtic". Vice. June 11, 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 3, 2012.
- ↑ "How Trap Music Came to Rule the World". Complex (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-05-31. สืบค้นเมื่อ 2020-04-18.
- ↑ Raymer, Miles (20 November 2012). "Who owns trap?". Chicago Reader. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 27, 2013. สืบค้นเมื่อ May 30, 2013.
- ↑ Patterson, Joseph (January 19, 2013). "Trap Music: The Definitive Guide". Topman. Sabotage Times. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 25, 2013. สืบค้นเมื่อ February 14, 2013.
- ↑ Phili, Stelios (8 October 2012). "Fighting Weight: From the Trap to the Treadmill". GQ. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 16, 2016. สืบค้นเมื่อ May 30, 2013.
- ↑ "The trap phenomenon explained". DJ Mag. February 28, 2013. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ July 23, 2013. สืบค้นเมื่อ May 30, 2013.