ซินนาบาร์ (อังกฤษ: Cinnabar; ออกเสียง /ˈsɪnəbɑːr/) หรือ cinnabarite (/sɪnəˈbɑːrt/) mercury(II) sulfideแดง (HgS) ชาด ธรรมชาติ เป็นแร่ของปรอทที่พบได้ทั่วไป

ซินนาบาร์
การจำแนก
ประเภทSulfide mineral
สูตรเคมีMercury(II) sulfide, HgS
คุณสมบัติ
สีCochineal-red, towards brownish red and lead-gray
รูปแบบผลึกRhombohedral to tabular; granular to massive and as incrustations
โครงสร้างผลึกTrigonal
การเกิดผลึกแฝดSimple contact twins, twin plane {0001}
แนวแตกเรียบPrismatic {1010}, perfect
รอยแตกUneven to subconchoidal
ความยืดหยุ่นSlightly sectile
ค่าความแข็ง2.0–2.5
ความวาวAdamantine to dull
ดรรชนีหักเหnω = 2.905 nε = 3.256
คุณสมบัติทางแสงUniaxial (+); very high relief
ค่าแสงหักเหสองแนวδ = 0.351
สีผงละเอียดScarlet
ความถ่วงจำเพาะ8.176
สภาพละลายได้1.04×10−25 g/100 ml water
(Ksp at 25 °C = 2×10−32)[1]
ความโปร่งTransparent in thin pieces
อ้างอิง: [2][3][4][5]

แร่ชนิดนี้ในตำรายาโบราณเรียกชาดจอแส ใช้สงบประสาทและถอนพิษ ก่อนใช้จะต้องฆ่าฤทธิ์ก่อน ส่วนชาดที่ได้จากเมอร์คิวรรีซัลไฟด์สังเคราะห์นั้นเรียกชาดหรคุณจีน[6]

โครงสร้างผลึกของซินนาบาร์

อ้างอิง

แก้
  1. Myers, R. J. (1986). "The new low value for the second dissociation constant of H2S. Its history, its best value, and its impact on teaching sulfide equilibria". Journal of Chemical Education. 63: 689.
  2. "Cinnabar". Mineralienatlas.
  3. "Cinnabar (HgS)" (PDF). rruff.geo.arizona.edu. สืบค้นเมื่อ 2015-07-24.
  4. "Cinnabar: Cinnabar mineral information and data". Mindat. สืบค้นเมื่อ 2015-07-24.
  5. "Cinnabar Mineral Data". Webmineral. สืบค้นเมื่อ 2015-07-24.
  6. ชยันต์ พิเชียรสุนทร และ วิเชียร จีรวงศ์. คู่มือเภสัชกรรมแผนไทยเล่ม 4 เครื่องยาธาตุวัตถุ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กทม. อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. 2556. หน้า 48

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้