การเลือกตั้งระบบสัดส่วนแบบบัญชีรายชื่อปิด
การเลือกตั้งระบบสัดส่วนแบบบัญชีรายชื่อปิด (อังกฤษ: closed list) หรือ "แบบปิด" เป็นการเลือกตั้งประเภทหนึ่งของระบบสัดส่วนแบบบัญชีรายชื่อ ซึ่งผู้มีสิทธิเลือกตั้งเลือกเพียงพรรคการเมืองที่ต้องการ โดยไม่สามารถเลือกหรือเปลี่ยนแปลงลำดับรายชื่อในบัญชีรายชื่อของพรรคได้ ซึ่งตรงกันข้ามกับแบบเปิด (open-list)
ในแบบปิดนี้ แต่ละพรรคการเมืองมีอำนาจเต็มในการตัดสินใจในอันดับผู้สมัครในบัญชีรายชื่อพรรค ดังนั้นผู้สมัครในอันดับต้นของบัญชีรายชื่อมักจะได้รับเลือกก่อน ในขณะที่ผู้สมัครที่อยู่ในลำดับหลังหรือท้ายแทบจะไม่มีโอกาสได้รับเลือกเลย โดยคะแนนเสียงทั้งหมดที่เลือกพรรคจะนำมาเฉลี่ยกับคะแนนเสียงทั้งหมดแล้วคำนวนเป็นจำนวนที่นั่ง โดยผู้สมัครลำดับที่จะได้รับเลือกจะขึ้นอยู่กับจำนวนที่นั่งที่ได้รับ
ประเทศที่ใช้ระบบสัดส่วนแบบบัญชีรายชื่อปิด
แก้- แอลจีเรีย
- อันดอร์รา
- แองโกลา
- อาร์เจนตินา
- อาร์มีเนีย
- เบนิน
- บัลแกเรีย
- บูร์กินาฟาโซ
- บุรุนดี
- กัมพูชา
- โคลอมเบีย (ขึ้นอยู่กับพรรคการเมือง)
- คอสตาริกา
- สาธารณรัฐโดมินิกัน[1]
- ติมอร์-เลสเต
- อิเควทอเรียลกินี
- กัวเตมาลา
- กินี-บิสเซา
- กายอานา
- ฮ่องกง (ค.ศ. 1997–2016)
- ไอซ์แลนด์
- อิสราเอล
- อิตาลี
- คาซัคสถาน[2]
- คีร์กีซสถาน
- มอลโดวา
- มอนเตเนโกร
- โมร็อกโก
- โมซัมบิก
- นามิเบีย[3]
- นิการากัว
- ไนเจอร์
- มาซิโดเนียเหนือ
- ปารากวัย
- โปรตุเกส
- โรมาเนีย[4]
- รัสเซีย[2]
- รวันดา
- สกอตแลนด์
- เซอร์เบีย
- แอฟริกาใต้
- สเปน
- ศรีลังกา
- ไต้หวัน
- โตโก
- ตูนิเซีย
- ตุรกี
- อุรุกวัย
- เวลส์
อ้างอิง
แก้- ↑ "{title}". เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-11-22. สืบค้นเมื่อ 2018-09-02.
- ↑ 2.0 2.1 Lundberg, Thomas Carl (22 October 2010). "Post-communism and the abandonment of mixedmember electoral systems" (PDF). University of Glasgow. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2 January 2021. สืบค้นเมื่อ 2 January 2021.
- ↑ "Elections - GRN Portal". www.ecn.na. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-07-21. สืบค้นเมื่อ 2018-07-20.
- ↑ Filimon, Paul (20 July 2015). "Legea ALEGERILOR PARLAMENTARE pe LISTE, promulgată de Iohannis". România Liberă (ภาษาโรมาเนีย). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-07-02. สืบค้นเมื่อ 2018-05-24.