การขนส่งในประเทศพม่า
รัฐบาลของประเทศพม่ามีกระทรวงที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการขนส่ง 2 กระทรวงด้วยกัน ได้แก่ กระทรวงคมนาคมและกระทรวงรถไฟ[1][2]
ระบบราง
แก้ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 ประเทศพม่ามีทางรถไฟระยะทางทั้งสิ้น 5,099 km (3,168 mi) เป็นรางขนาด 1,000 mm (3 ft 3 3⁄8 in) ปัจจุบันยังไม่มีทางรถไฟที่เชื่อมต่อไปยังประเทศข้างเคียง
ระบบถนน
แก้- รวม : 27,000 km (16,777 mi)
- ถนนลาดยาง : 3,200 km (1,988 mi)
- ถนนไม่ลาดยาง : 23,800 km (14,789 mi) (ข้อมูลปี พ.ศ. 2549)
ทางหลวงสายหลักในประเทศพม่า ได้แก่
- ทางหลวงหมายเลข 1 - จากย่างกุ้งถึงมัณฑะเลย์ ผ่านเมืองหงสาวดี, ตองอู, ปยี่นมะน่า และเมะทีลา
- ทางหลวงหมายเลข 2 - จากย่างกุ้งถึงมัณฑะเลย์ ผ่านเมืองแปร, มะกเว, เจาะบะด้อง และมยี่นชาน
- ทางหลวงหมายเลข 3 - จากมัณฑะเลย์ถึงมูแซ (พรมแดนประเทศจีน) ผ่านเมืองลาโช
- ทางหลวงหมายเลข 4 - จากเมะทีลาถึงท่าขี้เหล็ก (พรมแดนประเทศไทย) ผ่านเมืองตองจีและเชียงตุง
- ทางหลวงหมายเลข 5 - จากตองอูถึงโฮโปน ผ่านเมืองลอยกอ
- ทางหลวงหมายเลข 6 - จากย่างกุ้งถึงพะสิม
- ทางหลวงหมายเลข 7 - จากมัณฑะเลย์ถึง Moreh (พรมแดนประเทศอินเดีย) ผ่านเมืองชเวโบและกะเล
- ทางหลวงหมายเลข 8 - จากพะจาจีถึงมะริด ผ่านเมืองเมาะลำเลิง, เย และทวาย
- ทางหลวงหมายเลข 31 - จากมัณฑะเลย์ถึงมิตจีนา ผ่านเมืองโม่โกะและพะโม
ในประเทศพม่ามีทางพิเศษ 1 สาย ซึ่งเป็นทางคู่ 4 ช่องจราจรตลอดทั้งสาย ได้แก่
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ Ministry of Rail Transport
- ↑ "Ministry of Transport". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-01-17. สืบค้นเมื่อ 2015-11-22.
บทความนี้รวมเอางานสาธารณสมบัติจากเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก