กรูฟเมทัล
กรูฟเมทัล (อังกฤษ: Groove metal) บางครั้งเรียกว่า โฟสต์-แทรช, นีโอ-แทรช, พาวเวอร์กรูฟ หรือเรียกสั้น ๆ ว่า กรูฟ เป็นแนวเพลงย่อยของดนตรีเฮฟวีเมทัล มักนำไปเรียกเป็นแนวเพลงของวง แพนเทอรา[5] และเอกซ์ฮอร์เดอร์[6] โดยหลักแล้ว กรูฟเมทัลได้นำความหนักแน่น และคุณภาพเสียงมาจากแนวดนตรีแทรชเมทัล และเล่นในความเร็วหรือเทมโปในระดับปานกลาง อีกทั้งวงดนตรีส่วนใหญ่มีการเล่นเพลงไปสู่จังหวะที่เร็วขึ้นเป็นครั้งคราว[7]
กรูฟเมทัล | |
---|---|
แหล่งกำเนิดทางรูปแบบ | เฮฟวีเมทัล, แทรชเมทัล,[1] เดทเมทัล,[2] ครอสโอเวอร์แทรช, ฮาร์ดคอร์พังก์, ฟังก์เมทัล [3] |
แหล่งกำเนิดทางวัฒนธรรม | ต้นยุคปี 1990 ในสหรัฐอเมริกา และบราซิล |
เครื่องบรรเลงสามัญ | กีตาร์ไฟฟ้า, กลอง, กีตาร์เบส, นักร้อง |
รูปแบบอนุพันธุ์ | นูเมทัล[4] |
หัวข้ออื่น ๆ | |
อินดัสเทรียลเมทัล, รายชื่อวงดนตรีกรูฟเมทัล, เมทัลคอร์ |
อ้างอิง
แก้- ↑ Jaffer, Dave. "Hour.ca - Music - Spin - Vigilance - Threat Signal". Hour. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-12-05. สืบค้นเมื่อ 21 June 2010.
- ↑ Christe (2003), Sound of the Beast, p. 264,
As close to death metal as any other gold-selling record before it, Chaos A.D. stripped down Sepultura's sound into a coarse metallic loop. The CD sold half a million copies, and alongside Pantera the band forged a streetwise, death-derived groove metal that inspired an upcoming generation of mavens in the 1990s.
- ↑ "Heavy Metal Genres". About.com. สืบค้นเมื่อ 18 May 2012.
- ↑ Tompkins, Joseph (2009). "What's the Deal with Soundtrack Albums? Metal Music and the Customized Aesthetics of Contemporary Horror". Cinema Journal. 49 (1). doi:10.1353/cj.0.0155.
- ↑ Birchmeier, Jason. "Pantera biography". Allmusic. สืบค้นเมื่อ 11 February 2009.
- ↑ Simmonds, Jeremy (2008). The Encyclopedia of Dead Rock Stars: Heroin, Handguns, and Ham Sandwiches. Chicago Review Press. p. 535. ISBN 978-1-55652-754-8.
- ↑ "Best Pantera Albums". About.com. สืบค้นเมื่อ 18 May 2012.