กรอบอ้างอิงเฉื่อย

ในกลศาสตร์คลาสสิคและทฤษฎีสัมพันธภาพพิเศษ กรอบอ้างอิงเฉื่อย คือ กรอบอ้างอิงของวัตถุซึ่งเป็นกรอบที่มีแรงลัพธ์กระทำเป็นศูนย์หรือก็คือไม่มีความเร่งเกิดขึ้น นั่นคือกรอบนี้จะอยู่ในสภาพหยุดอยู่นิ่งหรือกำลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว [1] ในเชิงการวิเคราะห์ มันคือกรอบอ้างอิงที่อธิบายถึงเวลาและอวกาศว่าเป็นเนื้อเดียวกัน (homogeneous) เติบโตเท่ากันทุกทิศทาง (isotropic) และอยู่ในพจน์ที่ไม่ขึ้นกับเวลา [2] แนวคิดทางฟิสิกส์ของระบบซึ่งอยู่ในกรอบอ้างอิงเฉื่อย จะไม่มีปัจจัยภายนอกที่ส่งผลต่อระบบ[3] กรอบอ้างอิงเฉื่อยยังมีชื่อเรียกอื่นว่า inertial reference frame, inertial frame, Galilean reference frame, หรือ inertial space.[ต้องการอ้างอิง]

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. Douglas Fields (2015), "Galilean Relativity" (PDF), Physics 262-01 Spring 2018, University of New Mexico, สืบค้นเมื่อ May 27, 2018[ลิงก์เสีย]
  2. Landau, L. D.; Lifshitz, E. M. (1960). Mechanics. Pergamon Press. pp. 4–6.
  3. Ferraro, Rafael (2007), Einstein's Space-Time: An Introduction to Special and General Relativity, Springer Science & Business Media, pp. 209–210, ISBN 9780387699462

อ่านเพิ่มเติม

แก้
  • Albert Einstein, Relativity, the special and the general theories, 15th ed. (1954)
  • Poincaré, Henri (1900). "La théorie de Lorentz et le Principe de Réaction". Archives Neerlandaises. V: 253–78.
  • Albert Einstein, On the Electrodynamics of Moving Bodies, included in The Principle of Relativity, page 38. Dover 1923
Rotation of the Universe
  • B Ciobanu, I Radinchi Modeling the electric and magnetic fields in a rotating universe Rom. Journ. Phys., Vol. 53, Nos. 1–2, P. 405–415, Bucharest, 2008
  • Yuri N. Obukhov On physical foundations and observational effects of cosmic rotation (2000)
  • P Birch Is the Universe rotating? Nature 298, 451 - 454 (29 July 1982)

การเชื่อมโยงภายนอก

แก้
  • Animation clip ที่ยูทูบ showing scenes as viewed from both an inertial frame and a rotating frame of reference, visualizing the Coriolis and centrifugal forces.